Page 173 - Ebook
P. 173

ื
                   ั
                                                         ึ
               ฉะน้น การพิจารณาความตรงของเคร่องมือจึงข้นอยูกับการกำหนดขอบเขตและการใหความหมายของเกณฑ
               ที่นำมาใชเปรียบเทียบเปนสำคัญ



                       1) ความตรงตามเนื้อหา (content validity) หมายความวา ขอคำถามหรือขอความแตละขอ


                                                                        ื
                                                                                 ี
               และรวมทุกขอเปนเคร่องมือทั้งชุด ถามไดตรงและครอบคลุมเน้อหาตามท่ตองการวัดหรือไม เนื้อหาท่ถาม
                                                                                                          ี
                                   ื
                 ั
                                                  ี
                                                                            ื
               ท้งหมดเปนตัวแทนของเนื้อหาทั้งหมดท่ตองการใหถามหรือไม ถาเคร่องมือรวบรวมขอมูลฉบับใดถามไดตรง
                                       ื
                                                                                               ั
                                                                                                      ี
                                                                      ี
                                                                ื
                                            ี
                                                                                          ื
               ถามครบถวนครอบคลุมเน้อหาท่ตองการใหถาม และเน้อหาท่ถามเปนตัวแทนของเน้อหาท้งหมดท่ตองการ
               ใหถาม เครื่องมือฉบับนั้นก็มีความตรงตามเนื้อหาแลว
                                                 ื
                                                           ื
                       การตรวจสอบความตรงตามเน้อหาของเคร่องมือรวบรวมขอมูลทุกประเภทจะกระทำดวยการวิเคราะห
                                                                 ื
                                                     ี
               เชิงเหตุผล อาศัยดุลพินิจทางวิชาการของผูเช่ยวชาญทางเน้อหาเปนเกณฑ (panel of experts in the content
                                                                           ี
                          ั
               area) โดยท่วไปควรมีคณะผูเช่ยวชาญอยางนอย 3 คน หรือมากกวาน้หากเน้อหามีความซับซอนแตไมควรเกิน
                                          ี
                                                                                 ื
                                                      ี
               10 คน เพราะถือวาเกินความจำเปน  ผูเช่ยวชาญจะประเมินวาขอคำถามแตละขอ ถามหรือวัดไดตรง
                                                 1
                    ื
                                                                ื
                                                                              ี
                                                                          ื
               กับเร่องหรือไม และขอคำถามทั้งหมดนั้นครอบคลุมเน้อหาของเร่องท่จะวัดหรือไม ความเห็นพองตองกัน
                                                                        ื
               ของคณะผูเช่ยวชาญแสดงถึงความเท่ยงตรงตามเน้อหาของเคร่องมือน้น เชน การศึกษาวัดความรู เจตคต    ิ
                                                 ี
                           ี
                                                                              ั
                                                             ื
                          ื
               และความเช่อในดูแลสุขภาพชองปากของเด็กปฐมวัย แบบสอบถามท่ถามจำเปนตองมีการหาความถูกตอง
                                                                             ี
               ของเนื้อหาโดยอาศัยดุลยพินิจทางวิชาการของผูเชี่ยวชาญทางเนื้อหาเปนหลัก
                       การคำนวณความตรงของเนื้อหา มี 2 วิธี
               วิธีที่ 1 คำนวณคาดัชนีความสอดคลอง (indexes of item-objective congruence: IOC) พัฒนามาจาก

               Rovinelli and Hambleton (1977)   โดยใหผูเช่ยวชาญประเมินขอคำถามแตละขอแลวใหคะแนน
                                                               ี
                                                   2
               เปน +1, 0, -1 (+1 = ตรงตามวัตถุประสงค, 0 = ไมแนใจวาตรงตามวัตถุประสงค และ -1 = ไมตรงตาม


               วัตถุประสงค)





                       สูตรคำนวณ IOC    =     คะแนนรวม


                                                      ี
                                             จำนวนผูเช่ยวชาญ







                                                                                                               170
   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178