Page 172 - Ebook
P. 172

ี
                     ี
                                                                     ี
                                                             ื
               บทท่ 7 ความตรงและความเท่ยงของเคร่องมือท่ใชในการศึกษาระบาดวิทยาชองปาก
               แนวคิดหลัก : ความเขาใจเก่ยวกับความตรงและความเท่ยงของเครื่องมือท่ใชในการศึกษาระบาดวิทยาชองปาก
                                        ี
                                                                ี
                                                                               ี
               และนำไปประยุกตใชในการสรางเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพได
               __________________________________________________________________________________


                       เคร่องมือท่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลในการศึกษาระบาดวิทยาในชองปากกระทำไดหลายแบบ
                          ื
                                 ี
                                                                                                           ื
               เชน การสังเกต การสัมภาษณ การสอบถาม การทดสอบ การตรวจในชองปากและการตรวจพิเศษอ่นๆ

                                                                                   ื
                                        ื
               ในการสรางและพัฒนาเคร่องมือท่ใชในการเก็บขอมูลทางระบาดวิทยา เพ่อที่จะสามารถนำไปวิเคราะห
                                               ี
                                                                                  ี
                                                                                     ึ
               และนำมาใชไดอยางมีประสิทธิภาพ จำเปนจะตองอาศัยการรวบรวมขอมูลท่ดี ซ่งจะตองมีคุณสมบัติที่สำคัญ
               ไดแก ความตรง (validity) และความเที่ยง (reliability)


               ความตรง (validity)


                       ความตรงหรือความถูกตอง (validity) หมายถึง เครื่องมือวัดผลนั้นสามารถวัดคุณลักษณะที่ตองการ


               จะวัดไดตรงความเปนจริงหรือตรงกับสาระสำคัญของส่งท่ต้งเปาหมายหรือวัตถุประสงคของการศึกษา
                                                                      ั
                                                                  ิ
                                                                     ี
               ที่กำหนดไวหรือไม

                                                       ื
                                                              ี
                       วธีการประเมินความถูกตองของเคร่องมือท่ใชวัดผลไดชัดเจน เชน การเปนโรคสามารถทำไดโดย
                        ิ
                                                     ั
                                                             ี
               การเปรียบเทียบผลการวัดดวยเคร่องมือน้นกับคาท่ไดจากการวัดดวยวิธีมาตรฐานและคำนวณออกมาเปน
                                              ื
                                                                                                   ี
                                                                       ึ
               คาความไว (sensitivity) และความจำเพาะ (specificity) ซ่งจะไมไดกลาวในบทน้ ในบทน้จะกลาวถึง
                                                                                           ี
                                                                       ี
               ความตรงและการทดสอบความตรงของเคร่องมือท่วัดตัวแปรท่มีลักษณะเปนนามธรรม เชน ความเจ็บปวด
                                                      ื
                                                            ี
               เจตคติ ความรู ความกลัว ความกังวล หรือคุณภาพชีวิต โดยใชแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ หรือแบบทดสอบ
               ซึ่งสามารถแบงลักษณะของความตรง ไดเปน 3 ประเภท คือ


                       1) ความตรงตามเนื้อหา (content validity)

                       2) ความตรงตามโครงสราง (construct validity)


                       3) ความตรงเชิงสัมพันธกับเกณฑ (criterion-related validity)

                                    ื
                       ในการสรางเคร่องมือรวบรวมขอมูลแตละประเภท ไมจำเปนตองสรางใหมีความตรงครบทั้ง 3 ประเภท

                                                                                   ึ
                                                                                          ั
                              ึ
                  ื
                                                       ึ
               เคร่องมือฉบับหน่งอาจมีความตรงประเภทหน่ง แตขาดความตรงอีกประการหน่งก็ได ท้งนี้แลวแตวัตถุประสงค
               ของการสรางเคร่องมือประเภทน้นวาตองการเนนความตรงประเภทใด หรือใชอะไรเปนเกณฑเปรียบเทียบความตรง
                                          ั
                             ื
      169
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177